ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก กันยายน, 2020

การควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้า (Motor Control)

 Y-Delta Start    http://motor.lpc.rmutl.ac.th/module12/star_delta.html การควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้า (Motor Control) บทที่ 1  ความรู้เบื้องต้นในการควบคุมมอเตอร์            -  ความหมายและจุดมุ่งหมายของการควบคุมมอเตอร์            -  ประเภทของการควบคุมมอเตอร์              -  ตัวอย่างประเภทของการควบคุมแบบต่างๆ            -  ข้อดีข้อเสียของการควบคุมมอเตอร์ บทที่ 2  อุปกรณ์ในการควบคุมมอเตอร์และสัญลักษณ์           - อุปกรณ์ต่างๆ ในการควบคุมมอเตอร์           -  หลักการทำงานเบื้องต้นของแมกเนติกคอนแทคเตอร์           -  NO - NC - COM คืออะไร           - สัญลักษณ์แสดงการทำงาน           -  สัญลักษณ์แสดงส่วนต่างๆ            -  สัญลักษณ์ตัวอักษร       ...

ปวส.2/3

 ปวส.2/3 การควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้า 3 เฟส ปิยฉัตร คำวิเชียร นายณัฐวุฒิ   ชานนตรี นายทินภัทร์ คำสุ่ย นายธวัชชัย นามวงศ์ นายสุรยุทธ นามภูมี นายนรินทร์ธร ยืนนาน นายปฏิภาณ โคตรบุบผา

การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟส

   มอเตอร์ 3 เฟส สามารถกลับทางหมุนได้โดย การกลับเฟสของสายไฟที่จ่ายให้กับมอเตอร์ จำนวน 2 สาย โดยสามารถที่จะกลับเฟสของสายคู่ใดก็ได้ ที่จ่ายให้กับมอเตอร์ ภาพที่ 1 แสดงการกลับทางหมุนของมอเตอร์ 3 เฟส การกลับทางหมุนมอเตอร์  3  เฟส สามารถทำได้  2  วิธีคือ 1.  การกลับทางหมุนโดยใช้สวิตช์เช่น ดรัมสวิตช์  (Drum Switch)  หรือโรตารี่แคมสวิตช์  (Rotary Camp SWitch)         การกลับทางหมุนโดยใช้สวิตช์ เช่น โรตารี่แคมสวิตช์จะเป็นสวิตช์หมุน  3  ตำแหน่ง คือ  I – O - II (Clockwise-Counter Cockwise)  หรือ  F – O - R (Forward-Stop-Reverse)  หรือ  L- O – R (Left-Stop-Right) ภาพที่ 2 แสดงดรัมสวิตซ์ที่ใช้ในการควบคุมการกลับทางหมุนของมอเตอร์ 3 เฟส 2.  โดยการใช้แมคเนติกคอนแทคเตอร์         การใช้แมคเนติกคอนแทคเตอร์ จะใช้แมคเนติกคอนแทคเตอร์เพิ่มขึ้นอีก 1 ตัว โดยตัวที่ 2 จะสลับสายเฟสให้แตกต่างจากแมคเนติกตัวแรก เพื่อจ่ายให้กับมอเตอร์ และออกแบบอย่างไรก็ได้ตามต้องการให้วงจรควบคุมควบ...