ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

การควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้า (Motor Control)

 Y-Delta Start   http://motor.lpc.rmutl.ac.th/module12/star_delta.html


การควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้า (Motor Control)

บทที่ 1  ความรู้เบื้องต้นในการควบคุมมอเตอร์
           - ความหมายและจุดมุ่งหมายของการควบคุมมอเตอร์
           - ประเภทของการควบคุมมอเตอร์ 
           - ตัวอย่างประเภทของการควบคุมแบบต่างๆ
           - ข้อดีข้อเสียของการควบคุมมอเตอร์

บทที่ 2  อุปกรณ์ในการควบคุมมอเตอร์และสัญลักษณ์
          - อุปกรณ์ต่างๆ ในการควบคุมมอเตอร์
          - หลักการทำงานเบื้องต้นของแมกเนติกคอนแทคเตอร์
          - NO - NC - COM คืออะไร
          - สัญลักษณ์แสดงการทำงาน
          - สัญลักษณ์แสดงส่วนต่างๆ 
          - สัญลักษณ์ตัวอักษร
          - สัญลักษณ์อุปกรณ์ที่ใช้ในการควบคุมมอเตอร์
         
บทที่ 3  วงจรควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้า
         - แบบที่ใช้ในการควบคุมมอเตอร์
         - แบบวงจรสายเดียว
         - แบบวงจรแสดงการทำงาน
         - แบบวงจรงานจริง
         - แบบวงจรแสดงการติดตั้ง

บทที่ 4  สายไฟและอุปกรณ์ป้องกัน
         - การเลือกขนาดสาย

         - การเลือกขนาดอุปกรณ์ป้องกัน

บทที่ 5  การต่อใช้งานมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ 
          - มอเตอร์ 1 เฟส
              - สปิทเฟสมอเตอร์
          - มอเตอร์ 3 เฟส
          - การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟส
          - วิธีเช็คการลงกราวด์ของมอเตอร์

บทที่ 6 วงจรควบคุมมอเตอร์แบบต่าง ๆ
         - วงจรสตาร์ทมอเตอร์โดยตรง
         - วงจรกลับทางหมุนมอเตอร์โดยตรง
         - วงจรกลับทางหมุนหลังจากหยุด
         - วงจรกลับทางหมุนแบบชั่วขณะ (Jogging)
         - วงจรควบคุมมอเตอร์ แบบสตาร์-เดลต้า
         - วงจรควบคุมแบบตั้งเวลา
              * วงจรควบคุมเวลาสตาร์ทมอเตอร์
              * วงจรควบคุมเวลาหยุดมอเตอร์
         - การต่อมิเตอร์วัดค่าในวงจรควบคุม
              * การต่อแอมป์มิเตอร์วัดค่ากระแสไฟฟ้า
              * การต่อโวลต์มิเตอร์วัดค่าแรงดันไฟฟ้า

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

กลับทางหมุนมอเตอร์ 1 เฟส

วงจรกำลัง วงจรควบคุม

การกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟส

   มอเตอร์ 3 เฟส สามารถกลับทางหมุนได้โดย การกลับเฟสของสายไฟที่จ่ายให้กับมอเตอร์ จำนวน 2 สาย โดยสามารถที่จะกลับเฟสของสายคู่ใดก็ได้ ที่จ่ายให้กับมอเตอร์ ภาพที่ 1 แสดงการกลับทางหมุนของมอเตอร์ 3 เฟส การกลับทางหมุนมอเตอร์  3  เฟส สามารถทำได้  2  วิธีคือ 1.  การกลับทางหมุนโดยใช้สวิตช์เช่น ดรัมสวิตช์  (Drum Switch)  หรือโรตารี่แคมสวิตช์  (Rotary Camp SWitch)         การกลับทางหมุนโดยใช้สวิตช์ เช่น โรตารี่แคมสวิตช์จะเป็นสวิตช์หมุน  3  ตำแหน่ง คือ  I – O - II (Clockwise-Counter Cockwise)  หรือ  F – O - R (Forward-Stop-Reverse)  หรือ  L- O – R (Left-Stop-Right) ภาพที่ 2 แสดงดรัมสวิตซ์ที่ใช้ในการควบคุมการกลับทางหมุนของมอเตอร์ 3 เฟส 2.  โดยการใช้แมคเนติกคอนแทคเตอร์         การใช้แมคเนติกคอนแทคเตอร์ จะใช้แมคเนติกคอนแทคเตอร์เพิ่มขึ้นอีก 1 ตัว โดยตัวที่ 2 จะสลับสายเฟสให้แตกต่างจากแมคเนติกตัวแรก เพื่อจ่ายให้กับมอเตอร์ และออกแบบอย่างไรก็ได้ตามต้องการให้วงจรควบคุมควบ...

กฎมือขวา

เครื่องกำเนิดไฟฟ้าหรือไดนาโม (Generator or dynamo) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ผลิตกระแสไฟฟ้า จากพลังงานกล ในเครื่องกำเนิดไฟฟ้าอย่างง่าย จะมีแรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำแบบสลับเกิดขึ้นในขดลวด เมื่อหมุนในสนามแม่เหล็ก เครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสตรงมีคอมมิวเตเตอร์ เช่น เดียวกับมอเตอร์ไฟฟ้าและ กระแสไฟฟ้าจะไหลในทิศทางเดียว Current) เป็นไฟฟ้ากระแสที่มีทิศทางการเคลื่อนที่สลับกัน โดยกระแสไฟฟ้าที่เกิดขึ้นในขดลวดตัวนำของเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ ซึ่งมีอยู่ 3 ชนิดคือ ไฟฟ้ากระแสสลับ เฟสเดียว สองเฟส และสามเฟส ในปัจจุบันนิยมใช้เพียง 2 ชนิดเท่านั้น คือ กระแสไฟฟ้าสลับเฟสเดียวกับสามเฟส ไฟฟ้ากระแสสลับ (Alternating current) ไฟฟ้ากระแสสลับหมายถึงกระแสไฟฟ้าที่มีการสลับสับเปลี่ยนขั้วอยู่ตลอดเวลาอย่างสม่ำเสมอ ทิศทางการไหลของกระแสไฟฟ้าก็จะเปลี่ยนสลับไปมาจากบวก-ลบและจากลบ-บวก อยู่ตลอดเวลา ซึ่งไฟฟ้ากระแสสลับเป็นไฟฟ้าที่ใช้กันตามบ้านเรือนและโรงงานอุตสาหกรรมทั่วไปเมื่อเรานำไฟฟ้ากระแสสลับมาเขียนเป็นกราฟความสัมพันธ์ระหว่างแรงดันไฟฟ้ากับมุมที่เปลี่ยนไปเมื่อเวลาผ่านไปในขณะที่เกิดการไหลของกระแสไฟฟ้าจะได้ความสัมพันธ์ของกราฟเป็นเส้...